วันพฤหัสบดีที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

สปีชีส์

ในวิชาชีววิทยา ชนิด หรือทับศัพท์ว่า สปีชีส์ (อังกฤษspecies, ย่อ: sp., รูปพหูพจน์ย่อ: spp.) เป็นหน่วยการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานและอันดับอนุกรมวิธานหนึ่ง มักนิยามว่า สปีชีส์เป็นกลุ่มอินทรีย์ใหญ่สุดที่สามารถสืบพันธุ์แล้วออกลูกที่สืบพันธุ์ได้ การมีลักษณะปรับตัวเฉพาะอ่านต่อ

โรคภูมิแพ้(allergy)

โรคภูมิแพ้ (Allergy) คือโรคที่เกิดจากร่างกายมีความไวผิดปกติต่อสิ่งแวดล้อมกระตุ้นภายนอกแตกต่างไปจากคนปกติทั่วไป แทนที่จะสร้างภูมิต้านทานโรค กลับไปสร้างภูมิชนิดที่ก่อให้เกิด อาการภูมิแพ้แทน ที่เรียกว่า สารก่อภูมิแพ้ (Antigen) เช่น ฝุ่นบ้าน ไรฝุ่นที่นอนอ่านต่อ

โรคเอดส์ หรือ โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง(Acquired Immune Deficiency Syndome ; AIDS)

ต้องยอมรับว่า หนึ่งในโรคติดต่อที่คนรู้จักความน่ากลัวของมันเป็นอย่างดี ก็คือ " โรคเอดส์ " และรู้กันดีว่า " โรคเอดส์ " เป็นโรคร้ายแรงที่ยังไม่มีตัวยาใดมารักษาให้หายขาดได้ อีกทั้งยังพบผู้ติดเชื้อ เอดส์ เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ นั่นจึงทำให้องค์การอนามัยโลกอ่านต่อ

ด่านที่3 : ระบบภูมิคุ้มกัน

ประกอบไปด้วยด่านหรือสิ่งกีดขวาง ( Defensive barrier ) ต่างๆ ที่ใช้ในการป้องกันสิ่งแปลกปลอม    3    ด่านด้วยกัน   คือ สิ่งกีดขวางทางกายวิภาคและสรีรวิทยา (Anatomical And Physiology Barriers )
1. สิ่งกีดขวางทางกายวิภาค (Anatomical Barriers ) ทำหน้าที่เป็นภูมิคุ้มกันแนวแรกของร่างกาย ( First Line Of Defense ) ที่คอยป้องกันมิให้สิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกายได้แก่อ่านต่อ


ด่านที่ 2: แนวป้องกันโดยทั่วไป

 โดยปกติแล้วร่างกายของคนเรา มีกลไกในการป้องกันและกำจัดเชื้อโรคอยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งเปรียบเสมือนกับกำแพงเมือง ด่าน หรือป้อมปราการที่สร้างไว้สำหรับเป็นเครื่องกีดขว้าง สกัดกั้นหรือดักจับทำลายเชื้อโรค เพื่อไม่ให้เข้าไปทำอันตรายเซลล์ เนื้อเยื่อ หรืออวัยวะที่ทำหน้าที่สำคัญๆ ภายในร่างกายจนเกิดเป็นอ่านต่อ

อยู่อย่างปลอดภัย

1.สืบค้นข้อมูลและอธิบายเกี่ยวกับบทบาทของอวัยวะที่ทำหน้าที่ป้องกันและทำลายเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย รวมทั้งระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย 
2.อธิบายความสำคัญและการทำงานของอวัยวะที่ทำหน้าที่ป้องกันและอ่านต่อ